วันอาทิตย์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

งานพิเศษ

1.รายงานผลการเลือกตั้ง 3 กค 2554
-พรรคการเมืองแต่ละพรรคได้สส.แบบแบ่งเขตเลือกตั้งกี่คน แบบบัญชีรายชื่อแบบบัญชีรายชื่อกี่คน  รวมได้สส.กี่คน
-รวมทั้งหมดมีสส. 500 คน
  เพื่อไทยได้ 262 คน
  ประชาธิปปัตย์ได้ 160 คน
  ภูมิใจไทยได้ 34 คน
  ชาติไทยพัฒนาได้ 19 คน
  ชาติพัฒนาแผ่นดินได้ 9 คน
  พลังชลได้ 7 คน
  รักประเทศไทยได้ 4 คน
  มาตุภูมิได้ 2 คน
  รักสันติได้ 1 คน
  มหาชนได้ 1 คน
  ประชาธิปไตยใหม่ได้ 1 คน
   -พรรคร่วมรัฐบาลประกอบด้วยกี่พรรค  แต่ละพรรคมีสส.กี่คน รวมทั้งสิ้นพรรคร่วมรัฐบาลมีสส.กี่คน
  พรรคร่วมรัฐบาลมี 6 พรรค
    เพื่อไทยได้ 262 คน
    ชาติไทยพัฒนาได้ 19 คน
    ชาติพัฒนาแผ่นดินได้ 9 คน
    พลังชลได้ 7 คน
    มหาชนได้ 1 คน
    ประชาธิปไตยใหม่ได้ 1 คน
   รวมทั้งสิ้นพรรคร่วมรัฐบาลมีสส. 300 คน
-พรรคการเมืองฝ่ายค้านประกอบด้วยกี่พรรค แต่ละพรรคมีสส.กี่คน รวมฝ่ายค้านทั้งสิ้นกี่คน
   พรรคฝ่ายค้านมี 5 พรรค
      ประชาธิปปัตย์ได้ 160 คน
      ภูมิใจไทยได้ 34 คน
      รักประเทศไทยได้ 4 คน
      มาตุภูมิได้ 2 คน
      รักสันติได้ 1 คน
   รวมฝ่ายค้านทั้งหมด 200 คน
2.ให้เรียนสืบค้นเรื่ององค์กรมรดกโลก
    -มรดกโลก World Heritage Site คืออะไร

มรดกโลก (ภาษาอังกฤษ: World Heritage Site ภาษาฝรั่งเศส: Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเลสาบ ทะเลทราย อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต
มรดกโลก (ภาษาอังกฤษ: World Heritage Site ภาษาฝรั่งเศส: Patrimoine Mondial)
คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเลสาบ ทะเลทราย อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต

   -การแบ่งประเภทของมรดกโลก
 มรดกโลกแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ มรดกทางวัฒนธรรม (Cultural Heritage) และ มรดกทางธรรมชาติ (Natural Heritage) ซึ่งในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองมรดกโลกได้ให้คำนิยามไว้ว่า
               มรดกทางวัฒนธรรม หมายถึง สถานที่ซึ่งเป็นโบราณสถานไม่ว่าจะเป็นงานด้านสถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม หรือแหล่งโบราณคดีทางธรรมชาติ เช่น ถ้ำ หรือกลุ่มสถานที่ก่อสร้างยกหรือเชื่อมต่อกันอันมีความเป็นเอกลักษณ์ หรือแหล่งสถานที่สำคัญอันอาจเป็นผลงานฝีมือมนุษย์หรือเป็นผลงานร่วมกันระหว่างธรรมชาติกับมนุษย์ รวมทั้งพื้นที่ที่เป็นแหล่งโบราณคดี ซึ่งสถานที่เหล่านี้มีคุณค่าความล้ำเลิศทางประวัติศาสตร์ ศิลปะ มนุษยวิทยา หรือวิทยาศาสตร์
               มรดกทางธรรมชาติ หมายถึง สภาพธรรมชาติที่มีลักษณะทางกายภาพและชีวภาพอันมีคุณค่าเด่นชัดในด้านความล้ำเลิศทางวิทยาศาสตร์ หรือเป็นสถานที่ซึ่งมีสภาพทางธรณีวิทยาและภูมิประเทศที่ได้รับการวิเคราะห์แล้วว่าเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของพันธุ์พืชและสัตว์ ซึ่งถูกคุกคาม หรือเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพืชหรือสัตว์ที่หายาก เป็นต้น

   -ขั้นตอนการสมัครเป็นสมาชิกมรดกโลก
ประเทศที่ต้องการเสนอชื่อสถานที่ในประเทศของตน
ให้ได้รับการพิจารณาให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก

อันดับแรกจะต้องจัดทำบัญชีรายชื่อสถานที่
ที่มีความสำคัญทางธรรมชาติและวัฒนธรรมทั้งหมดภายในประเทศของตน
บัญชีนี้จะเรียกว่า บัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List)
ซึ่งมีความสำคัญมาก
เพราะมีเพียงสถานที่ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีนี้เท่านั้นที่จะมีสิทธิได้รับการเสนอชื่อ

ขั้นต่อมา ประเทศนั้นๆจะต้องเลือกรายชื่อสถานที่ที่ต้องการเสนอชื่อ
มาจากบัญชีรายชื่อเบื้องต้น เพื่อจัดทำเป็นแฟ้มข้อมูล (Nomination File)
โดยทางศูนย์มรดกโลกอาจให้คำแนะนำและช่วยเหลือในการจัดทำแฟ้มข้อมูลนี้

เมื่อถึงขั้นตอนนี้ แฟ้มข้อมูลจะถูกตรวจสอบและพิจารณาจากองค์กร 2 แห่ง
ได้แก่ สภานานาชาติว่าด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี
(International Council on Monuments and Sites)
และ สหภาพสากลเพื่อการอนุรักษ์ [1] (World Conservation Union)

   -มรดกโลกที่ขึ้นบัญชีเอาไว้ในขณะนี้

   -มรดกไทยที่ขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลกแล้ว
   -สาเหตุที่ประเทศไทยลาออกจากการเป็นภาคีสมาชิกมรดกโลก

วันอังคารที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2554

สัญลักษณ์พรรคการเมือง

รวบรวมชื่อย่อของพรรคการเมืองทุกพรรคพร้อมตราสัญญลักษณ์ประจำพรรคของแต่ ละพรรค ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศไทยในปี2554 ครั้งที่ 1

สัญญลักษณ์ชื่อพรรคการเมืองชื่อย่อหมายเลข
พรรค เพื่อไทยพท.1.
พรรค ชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดินชพน. หรือ CPN.2
พรรค ประชาธิปไตยใหม่ปธม. หรือ NDCP.3
พรรค ประชากรไทยปชท. หรือ TCP.4
พรรค รักประเทศไทยรปท. หรือ R.TL.P5
พรรค พลังชลพช. หรือ PC6
พรรค ประชาธรรมพปธ. หรือ PCT.7
พรรค ดำรงไทยดธ. หรือ DR.P8
พรรค พลังมวลชนพลช. หรือ MPP.9
พรรค ประชาธิปัตย์ปชป. หรือ DP.10
พรรค ไทยพอเพียงทพ. หรือ TPPP.11
พรรค รักษ์สันติรส. หรือ RSP.12
พรรค ไทยเป็นสุขทปส. หรือ TPS.13
พรรค กิจสังคมกส. หรือ SAP.14
พรรค ไทยเป็นไทยทปท. หรือ T.I.P.15
พรรค ภูมิใจไทยภท. หรือ BJT16
พรรค แทนคุณแผ่นดินทคผ. หรือ TKP.17
พรรค เพื่อฟ้าดินพฟด. หรือ FHAE.18
พรรค เครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทยพนท. หรือ FNTP.19
พรรค การเมืองใหม่ก.ม.ม. หรือ NPP.20
พรรค ชาติไทยพัฒนาชทพ. หรือ CP.21
พรรค เสรีนิยมส.ร.น. หรือ L.P.22
พรรค ชาติสามัคคีช.ส.ม. หรือ C.S.P.23
พรรค บำรุงเมืองบม. หรือ B.M.P.24
พรรค กสิกรไทยกท. หรือ KT.25
พรรค มาตุภูมิมภ. หรือ MB.26
พรรค ชีวิตที่ดีกว่าพชก. หรือ BLP.27
พรรค พลังสังคมไทยพสท. หรือ RSTP.28
พรรค เพื่อประชาชนไทยพ.ป.ท. หรือ R.T.P.29
พรรค มหาชนพมช. หรืิอ MCP.30
พรรค ประชาชนชาวไทยปชชท. หรือ RCCTP.31
พรรค รักแผ่นดินรผด. หรือ RPD.32
พรรค ประชาสันติปส. หรือ CPP.33
พรรค ความหวังใหม่ควม. หรือ N

วันจันทร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2554

พรรคการเมือง ปี 54

หมายเลข 1 พรรคเพื่อไทย จำนวนผู้สมัคร 125 คน
หัวหน้าพรรค : นายยงยุทธ วิชัยดิษฐ์
** นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร เป็น ปาร์ตี้ลิสต์ อันดับ 1

หมายเลข 2 พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน จำนวนผู้สมัคร 125 คน
หัวหน้าพรรค : นายแพทย์วรรณรัตน์ ชาญนุกูล

หมายเลข 3 พรรคประชาธิปไตยใหม่ จำนวนผู้สมัคร 6 คน
หัวหน้าพรรค : นายสุรทิน พิจารณ์

หมายเลข 4 พรรคประชากรไทย จำนวนผู้สมัคร 13 คน
หัวหน้าพรรค : นายสุมิตร สุนทรเวช

หมายเลข 5 พรรครักประเทศไทย จำนวนผู้สมัคร 11 คน
หัวหน้าพรรค : นายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์

หมายเลข 6 พรรคพลังชล จำนวนผู้สมัคร 18 คน
หัวหน้าพรรค : นายเชาวน์ มณีวงษ์

หมายเลข 7 พรรคประชาธรรม จำนวนผู้สมัคร 25 คน
หัวหน้าพรรค : นายมุคตาร์ กีละ

หมายเลข 8 พรรคดำรงไทย จำนวนผู้สมัคร 13 คน
หัวหน้าพรรค : นายโชติพัฒน์ สกุลดีเชิดชู

หมายเลข 9 พรรคพลังมวลชน จำนวนผู้สมัคร 8 คน
หัวหน้าพรรค : นายกรภพ ครองจักรภพ

หมายเลข 10 พรรคประชาธิปัตย์ จำนวนผู้สมัคร 125 คน
หัวหน้าพรรค : นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

หมายเลข 11 พรรคไทยพอเพียง จำนวนผู้สมัคร 3 คน
หัวหน้าพรรค : นายจำรัส อินทุมาร

หมายเลข 12 พรรครักษ์สันติ จำนวนผู้สมัคร 64 คน
หัวหน้าพรรค : พลตำรวจโท ถวิล สุรเชษฐพงษ์

หมายเลข 13 พรรคไทยเป็นสุข จำนวนผู้สมัคร 5 คน
หัวหน้าพรรค : นายประดิษฐ์ ศรีประชา

หมายเลข 14 พรรคกิจสังคม จำนวนผู้สมัคร 125 คน
หัวหน้าพรรค : นายทองพูล ดีไพร

หมายเลข 15 พรรคไทยเป็นไทย จำนวนผู้สมัคร 10 คน
หัวหน้าพรรค : นายตรีสัลล์ จันทน์เทียนเดชา

หมายเลข 16 พรรคภูมิใจไทย จำนวนผู้สมัคร 125 คน
หัวหน้าพรรค : นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล

หมายเลข 17 พรรคแทนคุณแผ่นดิน จำนวนผู้สมัคร 32 คน
หัวหน้าพรรค : นายวิชัย ศิรินคร

หมายเลข 18 พรรคเพื่อฟ้าดิน จำนวนผู้สมัคร 1 คน
หัวหน้าพรรค : นางสาวขวัญดิน สิงห์คำ

หมายเลข 19 พรรคเครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย จำนวนผู้สมัคร 30 คน
หัวหน้าพรรค : นายโชติ บุญจริง

หมายเลข 20 พรรคการเมืองใหม่ จำนวนผู้สมัคร 24 คน
หัวหน้าพรรค : นายสมศักดิ์ โกศัยสุข

หมายเลข 21 พรรคชาติไทยพัฒนา จำนวนผู้สมัคร 125 คน
หัวหน้าพรรค : นายชุมพล ศิลปอาชา

หมายเลข 22 พรรคเสรีนิยม จำนวนผู้สมัคร 8 คน
หัวหน้าพรรค : นายพุทธชาติ ช่วยราม

หมายเลข 23 พรรคชาติสามัคคี จำนวนผู้สมัคร 9 คน
หัวหน้าพรรค : นายนพดล ไชยฤทธิเดช

หมายเลข 24 พรรคบำรุงเมือง จำนวนผู้สมัคร 14 คน
หัวหน้าพรรค : นายสุวรรณ ประมูลชัย

หมายเลข 25 พรรคกสิกรไทย จำนวนผู้สมัคร 2 คน
หัวหน้าพรรค : นายจำลอง ดำสิม

หมายเลข 26 พรรคมาตุภูมิ จำนวนผู้สมัคร 40 คน
หัวหน้าพรรค : พลเอก สนธิ บุญยรัตกลิน

หมายเลข 27 พรรคชีวิตที่ดีกว่า จำนวนผู้สมัคร 4 คน
รักษาการแทนหัวหน้าพรรค : นางพูลถวิล ปานประเสริฐ

หมายเลข 28 พรรคพลังสังคมไทย จำนวนผู้สมัคร 5 คน
หัวหน้าพรรค : นายวิวัฒน์ เลอยุกต์

หมายเลข 29 พรรคเพื่อประชาชนไทย จำนวนผู้สมัคร 4 คน
หัวหน้าพรรค : นายดิเรก กลิ่นจันทร์

หมายเลข 30 พรรคมหาชน จำนวนผู้สมัคร 6 คน
หัวหน้าพรรค : นายอภิรัต ศิรินาวิน

หมายเลข 31 พรรคประชาชนชาวไทย จำนวนผู้สมัคร 5 คน
หัวหน้าพรรค : นายสุนทร ศรีบุญนาค

หมายเลข 32 พรรครักแผ่นดิน จำนวนผู้สมัคร 1 คน
หัวหน้าพรรค : นายประทีป ประภัสสร

หมายเลข 33 พรรคประชาสันติ จำนวนผู้สมัคร 34 คน
รักษาการแทนหัวหน้าพรรค : นายดลสวัสด์ ชาติเมธี

หมายเลข 34 พรรคความหวังใหม่ จำนวนผู้สมัคร 125 คน
หัวหน้าพรรค : นายชิงชัย มงคลธรรม

หมายเลข 35 พรรคอาสามาตุภูมิ จำนวนผู้สมัคร 3 คน
หัวหน้าพรรค : นายมนตรี เศรษฐบุตร

หมายเลข 36 พรรคพลังคนกีฬา จำนวนผู้สมัคร 103 คน
หัวหน้าพรรค : นายวนัสธนา สัจจกุล หรือ บิ๊กหอย

หมายเลข 37 พรรคพลังชาวนาไทย จำนวนผู้สมัคร 5 คน
หัวหน้าพรรค : นายสวัสดิ์ พบวันดี

หมายเลข 38 พรรคไทยสร้างสรรค์ จำนวนผู้สมัคร 4 คน
รักษาการแทนหัวหน้าพรรค : นายวิษณุภตฆ์ พีรเจริญวงส์

หมายเลข 39 พรรคเพื่อนเกษตรไทย จำนวนผู้สมัคร 23 คน
รักษาการแทนหัวหน้าพรรค : นายทรงเดช สุขขำ

หมายเลข 40 พรรคมหารัฐพัฒนา จำนวนผู้สมัคร 2 คน
หัวหน้าพรรค : นางสาวนวลนิจ หงษ์วิวัฒน์